|
|
|
ชาวบ้านในตำบลท่าฬ่อ มีสภาพความเป็นอยู่แบบเรียบง่าย มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ซึ่งกันและกัน
โดยชาวบ้านส่วนใหญ่ นับถือศาสนาพุทธ และมีวัดเป็นศูนย์รวมจิตใจ และเป็นศูนย์รวมของการทำกิจกรรมทางศาสนา
ในวันสำคัญต่างๆ และเนื่องด้วยสภาพภูมิประเทศที่อยู่ใกล้แหล่งน้ำ ซึ่งเอื้อต่อการทำการเกษตร ทำให้ประชาชนที่นี่ส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม และในการดำเนินชีวิต ชาวบ้านก็ได้นำเอาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวง มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันด้วย |
|
|
|
|
 |
|

 |
ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา ประมาณเดือนกรกฎาคมของทุกปี |

 |
ประเพณีแข่งเรือเรือยาววัดท่าฬ่อ ประมาณเดือนสิงหาคมของทุกปี บริเวณลำน้ำน่านวัดท่าฬ่อ
ตำบลท่าฬ่อ อำเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร |
|
|
|
 |
|
มีสถานศึกษา จำนวน 2 แห่ง คือ |

 |
โรงเรียนวัดวังมะเดื่อ ตั้งอยู่ หมู่ที่ 3 ตำบลท่าฬ่อ อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร |

 |
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ตั้งอยู่ 199 หมู่ที่ 4 ตำบลท่าฬ่อ อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร |
|
|
|
|
|
 |
|

 |
ศูนย์ยุติธรรมตำบลท่าฬ่อ ของสำนักงานคุมประพฤติ
จังหวัดพิจิตร |
|
|
|
 |
|

 |
ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ |
|
|
|
|
|
|
|

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าฬ่อ ตั้งอยู่ หมู่ที่ 2 ตำบลท่าฬ่อ อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร |

 |
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |
|
|
|
|
ภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ สิ่งที่บรรพบุรุษสืบทอดพัฒนา เพื่อการดำรงชีวิตที่สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
ทั้งนี้การสืบทอดรวมถึงการสั่งสมภูมิปัญญาของชนรุ่นก่อนนั้น สะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ที่เกี่ยวข้อง
กับสิ่งแวดล้อมรอบข้างได้เห็นถึงความสามารถ ภูมิปัญญาในการประยุกต์ใช้ทรัพยากรธรรมชาติรอบกายมาประกอบ
รวบรวมเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ได้เห็นถึงความเฉลียวฉลาดของการสอนลูกหลานในรูปแบบของความเชื่อและประเพณี
และการปรับตัวให้เข้ากับสิงแวดล้อม |
|
|